วันเสาร์ที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2562

pixlr.com


pixlr.com


pixlr.com


รูปที่ 3


รูปที่ 2


รูปที่ 1


QR-Code Me


วันพฤหัสบดีที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2562

จัดทำ e-Portflio


ชื่อ   นางนิรดา  ถิระศักดิ์สกุล

ชื่อเล่น   ครูรัตน์

เกิด   วันอาทิตย์ที่7ตุลาคม2527  ปีชวด 

ภูมิลำเนา   จังหวัดอำนาจเจริญ

เบอร์โทร   094-4644150

E-mail     Nirada1984ratty@gmail.com

ปัจจุบันทำงาน รับราชการครู ตำแหน่ง คศ. 1 

ณ โรงเรียนวัดทัศนารุณสุนทริการาม

จบการศึกษาปริญญาตรี เอกการศึกษาพิเศษ วิชาโท สุขศึกษา จาก มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

จบการศึกษาปริญญาโท เอกจิตวิทยาครูการศึกษาพิเศษ 
จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง

กำลังศึกษาปริญญาโท 
หลักสูตรมหาบัญฑิตการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยธนบุรี


ส่งบทคัดย่อภาษาอังกฤษ (ฐานข้อมูลไม่ซ้ำกัน) 5 เรื่อง


ส่งบทคัดย่อภาษาอังกฤษ เรื่องที่ 5

Fostering novice students' diagnostic ability: the value of guiding deliberate reflection.


Abstract

BACKGROUND:

Deliberate reflection when practising the diagnosis of clinical cases has been shown to develop medical students' diagnostic competence. Adding guidance by cueing reflection or providing modelling of reflection increased the benefits of reflection for advanced (Years 5-6) students. The present study investigated whether we could replicate and extend these findings by comparing the effects of free, cued and modelled reflection on novice students' diagnostic competence.

METHODS:

A total of 80 third-year medical students participated in a two-phase experiment. In the learning phase, students diagnosed nine clinical cases under one of three conditions: free reflection; cued reflection, and modelled reflection. Two weeks later, all students diagnosed four new examples of the diseases studied in the learning phase and four cases of non-studied related diseases ('adjacent diseases'). The main outcome measurements were diagnostic accuracy scores (range 0-1) on studied and adjacent diseases.

RESULTS:

For studied diseases, there was a significant effect of experimental condition on diagnostic accuracy (p < 0.02), with the cued-reflection group (mean = 0.58, standard deviation [SD] = 0.23) performing significantly better than the free-reflection group (mean = 0.41, SD = 0.20; p < 0.02). The cued-reflection and modelled-reflection groups (mean = 0.54, SD = 0.22) did not differ in diagnostic accuracy (p > 0.05), nor did the modelled-reflection group perform better than the free-reflection group (p > 0.05). For adjacent diseases, the three groups scored extremely low, without significant differences in performance (p > 0.05). Cued reflection and free reflection were rated as requiring similar effort (p > 0.05) and both were more demanding than studying examples of reflection (both p < 0.001) in the learning phase.

CONCLUSIONS:

Simply cueing novice students' reflection to focus it on relevant diseases was sufficient to increase diagnostic performance relative to reflection without any guidance. Cued reflection and studying examples of reflection appear to be equally useful approaches for teaching clinical diagnosis to novice students. Students found studying examples of reflection required less effort but cued reflection will certainly demand much less investment from teachers.


ส่งบทคัดย่อภาษาอังกฤษ (ฐานข้อมูลไม่ซ้ำกัน) 5 เรื่อง



ส่งบทคัดย่อภาษาอังกฤษ เรื่องที่ 4


Evaluation of an application for managing microcredits in education

Abstrtarct
One of the major problems in developing countries is minority access to higher education. Traditional scholarships usually focus on paying eventually tuition fees or bringing brilliant students to develop countries. Additionally, these systems used to be opaque and, consequently, a corruption source. We propose a system of student loans to pay tuition fees in exchange for work. We also provide UBURYO. It is the FOSS, that we have developed, to manage this loan system in a simple, trustworthy, fair and efficient way. We deployed the loan system in the University of Ngozi (UNG, Burundi). A shallow evaluation demonstrates that system sustainability is feasible.

ส่งบทคัดย่อภาษาอังกฤษ (ฐานข้อมูลไม่ซ้ำกัน) 5 เรื่อง



ส่งบทคัดย่อภาษาอังกฤษ เรื่องที่ 3

THE TRAINING OF THE THAI NATIONAL ANTHEM IN FOUR PART HARMONY FOR PRE-COLLEGE STUDENT CHOIR AT THE COLLEGE OF MUSIC MAHIDOL UNIVERSITY


ABSTRACT
The objective of this thematic paper was to study the coaching method of the Thai national anthem singing in Four-part for the Pre-college student choir at college of music, Mahidol University. The study is based on documents, interviews, observation, audio and video recordings to collect relevant information summarized as Follows: 1. The instructor assigns students to listen to the sound of a chorus of older students. 2. Students are divided into four groups then learn to sing solfege according to the musical notation. 3. Once they can sing solfege fluently, students then with the ensemble. 4. Should students sing with mistakes,it is resolved immediately. Students must sing after the teacher repeatedly until they can sing properly 5. After the students are able to sing consistently with the right pitch,students then learn to sing with lyrics. 6. Finally the students sing the Thai National Anthem in four-part as an ensemble. Suggestions from this study: 1. There should be a VCD on the rehearsal process as a model for other schools to use. 2. There should be a study on how other schools can apply this method to their non-music major students. 3. There should be a teachers training for singing the Thai national Anthem in four-part for teachers across Thailand to develop their knowledge.



ส่งบทคัดย่อภาษาอังกฤษ (ฐานข้อมูลไม่ซ้ำกัน) 5 เรื่อง


บทคัดย่อภาษาอังกฤษ เรื่องที่2


Research on the system construction of the continuing education for the physical education teacher



Abstract:
In order to train excellent physical education teachers, promote the reform of school physical education and speed up to train sports talents at all levels, we research and analyze the status and development of teacher continuing education, construct the theoretical system framework of the teacher continuing education in the physical education institutes based on the theoretical analysis, exploration, and analyzing the major factor of teacher continuing education, combining the current status of the continuing education in physical education institutes to sketched out the basic framework for the continuing education in physical education institutes, thus ensure the systematic development of the continuing education in physical education institutes.

ส่งบทคัดย่อภาษาอังกฤษ (ฐานข้อมูลไม่ซ้ำกัน) 5 เรื่อง


บทคัดย่อภาษาอังกฤษ เรื่องที่ 1

Footstep towards Inclusive Education


Footstep towards Inclusive Education Faiza Abbas* University of Management and Technology Lahore AneekaZafar Tayyaba Naz Allama Iqbal Open University Islamabad Abstract Inclusive education is a rising trend in the world. The first step towards inclusive education is providing the awareness to the general education teachers. This study focused to investigate the general education teachers of primary and secondary level awareness about the special education and inclusive education. This study is descriptive method used survey type. Closed ended questionnaire developed for collecting data. 300 teachers were selected as sample from primary and secondary schools through random sampling technique. Teacher’s awareness level unfortunately not good particularly primary rural areas school teachers. The age groups (25-30) of teachers with high qualification have strong awareness level about special education (90%) and inclusive education (40%). While,senior age group (51-55) have poor knowledge about special education (40%) and inclusive education (2%). Respondents’ education matters regarding awareness about special education and inclusive education. Awareness level was escalating with education. Keywords: Inclusive education, awareness, teachers training


ส่งบทความฐานข้อมูลภาษาไทย 5 เรื่อง



บทความที่ 5

ภาวะผู้นาเหนือผู้นาของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนโสตศึกษา สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ส่งบทความฐานข้อมูลภาษาไทย 5 เรื่อง



บทความที่ 4

ทักษะการบริหารที่พึงประสงค์ของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา ในยุคฏิรูปการศึกษาตามทัศนะของ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

ส่งบทความฐานข้อมูลภาษาไทย 5 เรื่อง


บทความที่ 3

ยุทธศาสตร์การบริหารสถานศึกษาให้ประสบความสำเร็จ


ส่งบทความฐานข้อมูลภาษาไทย 5 เรื่อง



บทความที่ 2

รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการสถานศึกษาโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ส่งบทความฐานข้อมูลภาษาไทย 5 เรื่อง



บทความที่ 1
หลักการบริหารการศึกษาตามแนวพุทธธรรม

ส่งบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ ภาษาไทย 5 เรื่อง


เรื่องที่ 5
การศึกษาสภาพและปัญหาการพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาสภาพและความคาดหวังในการดำเนินงานพัฒนาบุคลากรโรงเรียนประถมศึกษาเปรียบเทียบสภาพการดำเนินงานในการพัฒนาบุคลากรโรงเรียนประถมศึกษาที่มีขนาดต่างกัน เปรียบเทียบความคาดหวังของ ผู้บริหารโรงเรียนในการดำเนินงานพัฒนาบุคลากรโรงเรียนประถมศึกษาที่มีขนาดต่างกันและศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี กลุ่มประชากรในการวิจัยเป็นผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี ปีการศึกษา 2544 จำนวน 204 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและรายคู่ ทดสอบด้วย Scheffe โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS for Windows ผลการวิจัยพบว่า สภาพและความคาดหวังในการพัฒนาบุคลากรโรงเรียนประถมศึกษารายข้อส่วนใหญ่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 การพัฒนาบุคลากรในด้านการพัฒนาโดยการฝึกอบรม ด้านการพัฒนาโดยกระบวนการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาโดยกระบวนการบริหาร และด้านการพัฒนาโดยการส่งไปศึกษาต่อ อบรม ดูงาน มีสภาพและความคาดหวังในการดำเนินงานพัฒนาบุคลากรตามโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่อยู่ในระดับมาก และปานกลางตามลำดับ ส่วนสภาพการดำเนินงานพัฒนา บุคลากร และความคาดหวังในการดำเนินงานพัฒนาบุคลากรที่มีขนาดโรงเรียนต่างกันไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 การพัฒนาบุคลากรโรงเรียนประถมศึกษามีปัญหามากที่สุดแต่ละด้านดังนี้ ด้านการพัฒนาโดยการฝึกอบรมที่มีปัญหามากที่สุดคือ งบประมาณสนับสนุนไม่เพียงพอ ด้านการพัฒนาโดยกระบวนการปฏิบัติงานมีปัญหามากที่สุดเกี่ยวกับบุคลากรขาดความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาโดยกระบวนการบริหารมีปัญหามากที่สุดเกี่ยวกับผู้บริหารขาดความรู้ เทคนิคการบริหารงาน และด้านการพัฒนาโดยการส่งไปศึกษาต่อ อบรม ดูงานมีปัญหาเกี่ยวกับการขาดงบประมาณสนับสนุน แนวทางการแก้ไขปัญหาการพัฒนาบุคลากรโรงเรียนประถมศึกษา ด้านการพัฒนาโดยการฝึกอบรม ควรจัดฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องและจัดเป็นกลุ่มสนใจ ด้านการพัฒนาโดยกระบวนการปฏิบัติงานควรประชุมชี้แจงการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอด้านการพัฒนาโดยกระบวนการบริหารควรให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและแผนงาน และด้านการพัฒนาโดยการส่งไปศึกษาต่อ อบรม ดูงาน ควรส่งเสริมสนับสนุนให้ทุนการศึกษาต่อ


ส่งบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ ภาษาไทย 5 เรื่อง


เรื่องที่ 4
ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารกับสภาพขวัญในการปฏิบัติงานของครู – อาจารย์วิทยาลัยเทคนิค สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 1-6 ในช่วงการปฏิรูปการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร และระดับขวัญในการปฏิบัติงานของครู อาจารย์ รวมทั้งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม การบริหารของผู้บริหารกับขวัญในการปฏิบัติงานของครู อาจารย์ วิทยาลัยเทคนิค สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 1–6 ในช่วงปฏิรูปการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยเป็นครู อาจารย์ผู้สอนจำนวน 316 คน ได้มาโดยวิธีสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (simple random sampling) อย่างเป็นสัดส่วนจากแต่ละวิทยาลัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามประเภทมาตราส่วนประมาณค่า (rating scale) ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น (reliability) เท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) โดยใช้โปรแกรม SPSS for Windows version 9.0 ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยสามารถสรุปได้ดังนี้ 1. พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารวิทยาลัยเทคนิคตามความคิดเห็นของครู อาจารย์ ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยทั้ง 6 ด้านคือ ด้านการกำหนดเป้าหมาย การติดต่อสื่อสาร การตัดสินใจ การควบคุมบังคับบัญชา การเป็นผู้นำและด้านการจูงใจ 2. ขวัญในการปฏิบัติงานของครู อาจารย์ วิทยาลัยเทคนิคในภาพรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมาก 2 ด้าน เรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยคือ ด้านการยอมรับความสามารถของตนเองและด้านความรู้สึกตนเองมีความสำคัญ อยู่ในระดับปานกลางมี 6 ด้าน เรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยคือ ความรู้สึกสัมฤทธิ์ผลในการทำงาน ความรู้สึกเป็นเจ้าของ การมีส่วนร่วมกำหนดนโยบาย ความพึงพอใจในสภาพงานที่ดี การได้รับความยุติธรรม และด้านความมั่นคงปลอดภัย 3. พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารกับขวัญในการปฏิบัติงานของครู อาจารย์วิทยาลัยเทคนิค มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.760)


ส่งบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ ภาษาไทย 5 เรื่อง



เรื่องที่ 3
บทบาทผู้บริหารโรงเรียนในการส่งเสริมการสอนของครูตามความคิดเห็นของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษา 
จังหวัดกาญจนบุรี

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทผู้บริหารโรงเรียนในการส่งเสริมการสอน ของครู เปรียบเทียบบทบาทผู้บริหารโรงเรียนในการส่งเสริมการสอนของครูจำแนกตามขนาดของ โรงเรียน ศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการสอนของครูผู้สอนจากผู้บริหารโรงเรียน ตามความ คิดเห็นของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดกาญจนบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้จากการสุ่มอย่างง่ายครูผู้สอนในโรงเรียนมัธยมศึกษา 30 โรง จำนวน 266 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการ (check list ) และคำถามปลายเปิด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่ามัธยฐาน และค่าไคสแควร์ ผลการวิจัยในเรื่องบทบาทผู้บริหารโรงเรียนในการส่งเสริมการสอนของครู พบว่า ด้านการปฏิบัติหน้าที่ด้านการเรียนการสอน ผู้บริหารส่งเสริมมากที่สุด คือ การอนุญาตให้ครูพานักเรียนศึกษาดูงานในแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ในท้องถิ่น ส่งเสริมน้อยที่สุด คือ ผู้บริหารเยี่ยมชั้นเรียนที่นักเรียนมีปัญหาในการเรียน ด้านการพัฒนาคุณภาพของครู ผู้บริหารส่งเสริมมากที่สุด คือ การส่งครูเข้ารับการอบรม / ศึกษาต่อ ส่งเสริมน้อยที่สุด คือ ส่งเสริมการสอนเป็นทีม ด้านการส่งเสริมให้ครูมีความก้าวหน้าในวิชาชีพ ผู้บริหารส่งเสริมมากที่สุด คือ ให้ครูตระหนักในหน้าที่ความเป็นครู ส่งเสริมน้อยที่สุด คือ ฆ ให้ครูคำนึงถึงขั้นเงินเดือนพิเศษที่จะได้รับ และด้านการยกย่องเชิดชูครูผู้มีผลงานดีเด่น ผู้บริหารส่งเสริมมากที่สุด คือ มอบเกียรติบัตร/รางวัล แก่ครูผู้มีผลงานดีเด่นในที่ประชุมครู ส่งเสริมน้อยที่สุด คือ จัดสันทนาการเพื่อเป็นเกียรติแก่ครูผู้มีผลงานดีเด่น จากการศึกษาเปรียบเทียบบทบาทผู้บริหาร โรงเรียนในการส่งเสริมครู ผลการวิจัยพบว่า บทบาทผู้บริหารโรงเรียนในการส่งเสริมการสอนของครูในโรงเรียนที่มีขนาดแตกต่างกันมีความแตกต่างกัน ปัญหาที่พบมากที่สุดและแนวทางแก้ไขปัญหาการสอนของครูในแต่ละด้านจากผู้บริหาร โรงเรียนตามความคิดเห็นของครูมีดังนี้ คือ ด้านการปฏิบัติหน้าที่ด้านการเรียนการสอน ที่เป็นปัญหามากที่สุด คือ ครูได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่นอกเหนือจากการสอนมากทำให้ไม่มีเวลาในการจัดการเรียนการสอนแบบหลากหลาย ควรแก้ไขปัญหาโดยผู้บริหารไม่ควรให้ความสำคัญกับงานพิเศษมากกว่าด้านการเรียนการสอน เพราะทำให้ครูมุ่งทำงานพิเศษเพื่อมุ่งหวังความดีความชอบไม่มีเวลาดูแลเอาใจใส่นักเรียน ด้านการพัฒนาคุณภาพของครูผู้สอน ที่เป็นปัญหามากที่สุด คือโรงเรียนไม่สามารถจัดหางบประมาณสนับสนุนครูได้อย่างพอเพียง ควรแก้ไขโดยผู้บริหารจัดสรรงบประมาณสำหรับการศึกษา อบรม ดูงาน ให้เพียงพอ ด้านการส่งเสริมให้ครูมีความก้าวหน้าในวิชาชีพ ที่เป็นปัญหามากที่สุด คือ ครูขาดแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้า ควรแก้ไขโดยผู้บริหารต้องกระตุ้นครู โดยการจูงใจให้ครูพัฒนาตนเองอยู่เสมอ และด้านการยกย่องเชิดชูครูผู้มีผลงานดีเด่น ที่เป็นปัญหามากที่สุด คือ ไม่มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอนในการยกย่องเชิดชูครูผู้มีผลงานดีเด่น ควรแก้ไขโดยกำหนดหลักเกณฑ์ที่แน่นอนในการทำผลงานครูดีเด่น


ส่งบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ ภาษาไทย 5 เรื่อง

                                                                               

 เรื่องที่ 2
ความพึงพอใจของครูต่อพฤติกรรมคุณธรรมและการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี
นการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความพึงพอใจของครูต่อพฤติกรรมคุณธรรม และการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาประกอบด้วย ครูจากโรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 345 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t (t-test) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรม SPSS for Windows Version 10.0 ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมคุณธรรมของผู้บริหารโรงเรียนตามความคิดเห็นของครู ในภาพรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านอนวัชชพละ (สุจริต) อยู่ในระดับมากที่สุด และอีก 3 ด้านอยู่ในระดับมาก คือ ด้านสังคหพละ (มนุษยสัมพันธ์) ด้านวิริยพละ (ขยัน) และด้านปัญญาพละ (ปัญญา) 2. ความพึงพอใจของครูต่อพฤติกรรมคุณธรรมของผู้บริหารโรงเรียน ในภาพรวม ทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านอนวัชชพละ (สุจริต) อยู่ในระดับมากที่สุด และอีก 3 ด้านอยู่ในระดับมาก คือ ด้านสังคหพละ (มนุษยสัมพันธ์) ด้านวิริยพละ(ขยัน) และด้านปัญญาพละ (ปัญญา) 3. พฤติกรรมการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียน ตามความคิดเห็นของครูทั้ง 6 งาน อยู่ในระดับมาก คือ งานอาคารสถานที่ งานวิชาการ งานธุรการและการเงิน งานกิจการนักเรียน งานบุคลากรและงานความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน 4. เมื่อเปรียบเทียบระหว่างพฤติกรรมคุณธรรมของผู้บริหารโรงเรียนตามความคิดเห็นของครูกับตามความพึงพอใจของครู พบว่า ในภาพรวมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกด้าน 5. เมื่อเปรียบเทียบระหว่างการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียนที่มีพฤติกรรมคุณธรรมกลุ่มสูงกับผู้บริหารโรงเรียนที่มีพฤติกรรมคุณธรรมกลุ่มต่ำ พบว่า ในภาพรวมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกงาน คือ งานอาคารสถานที่ งานบุคลากร งานความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน งานธุรการและการเงิน งานวิชาการและงานกิจการนักเรียน 6. พฤติกรรมคุณธรรมและการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียนมีความสัมพันธ์กันทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า พฤติกรรมคุณธรรมทุกด้านและการบริหารงานทุกงานมีความสัมพันธ์กันทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01


ส่งบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ ภาษาไทย 5 เรื่อง

ส่งบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ ภาษาไทย 5 เรื่อง

เรื่องที่ 1
บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการบริหารสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 1-2 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ในการบริหารสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา รวมทั้งศึกษาปัญหา และแนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหาร สถานศึกษา จานวน 135 คน และครูที่รับผิดชอบงานสิ่งแวดล้อม จานวน 135 คน รวมจานวน 270 คน จากสถานศึกษา 135 แห่ง ใช้การสุ่มตามระดับชั้นอย่างเป็นสัดส่วนตามจำนวนและขนาด สถานศึกษาในแต่ละอำเภอและเขตพื้นที่การศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบ มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และ ทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ โดยการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows ผลการวิจัยพบว่า 1. บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการบริหารสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษาโดยภาพ รวมอยู่ในระดับมาก ส่วนรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้านเรียงตามลาดับค่าเฉลี่ยคือด้านการ บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ด้านการบริหารจัดการ และด้านการจัดการเรียนการสอน2.บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการบริหารสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา จำแนกตาม ขนาดของสถานศึกษาโดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. ปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา ที่พบมากที่สุด ในแต่ละด้านเรียงตามลาดับความถี่จากมากไปน้อยดังนี้ ปัญหาด้านการจัดการเรียนการสอน คือ การจัดการเรียนการสอนด้านสิ่งแวดล้อมยังไม่มีความหลากหลายในการบูรณาการ แนวทาง แก้ปัญหาคือ ควรวางแผนการจัดการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมบรรจุในหลักสูตรสถานศึกษา รองลงมา เป็นปัญหาด้านการบริหารจัดการ คือ ผู้รับผิดชอบไม่มีความถนัดในงานที่ได้รับมอบหมายเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา แนวทางแก้ไขปัญหา คือ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรจัดฝึกอบรม เกี่ยวกับการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา ปัญหาด้านการจัดสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ คือ พื้นที่โรงเรียนถูกน้า ท่วมทุกปี ไม่สามารถจัดการด้านสิ่งแวดล้อมได้ แนวทางแก้ไขคือ สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาควรจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการแก้ไขปัญหาอุทกภัยในสถานศึกษา.


วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2562

ฐานข้อมูลวิจัยในประเทศไทย
เมื่อคิดอะไรไม่ออก  บอก .....
Thai Library Integrated System (ThaiLIS) : http://tdc.thailis.or.th/tdc
http://sis.dla.go.th
http://cuir.car.chula.ac.th
http://tdri.or.th/research
http://elibrary.trf.or.th
http://dric.nrct.go.th
http://www.kmutt.ac.th/jif   -  ThaiJo
http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/index.html (TCI)
http://dlit.ac.th
http://www.onec.go.th
ฐานข้อมูลการวิจัยในต่างประเทศ
http://dl.acm.org/dl.cfm
http://ieeexplore.ieee.org
http://search.proquest.com/pqdtglobal
http://link.springer.com
www.webofknowledge.com
http://www.sciencedirect.com
http://search.ebscohost.com
http://eric.ed.gov
ERIC - Education Resources Information Center
Prachyanun • 1 นาที

http://tdc.thailis.or.th/tdc
http://sis.dla.go.th
http://cuir.car.chula.ac.th
http://tdri.or.th/research
http://elibrary.trf.or.th
http://dric.nrct.go.th
http://www.kmutt.ac.th/jif
ThaiJo
http://dlit.ac.th
http://www.onec.go.th
Remixing the Dance Education Classroom
Koff, Susan R.
Action, Criticism, and Theory for Music Education, v16 n1 p66-78 Aug 2017
Dance Education and Music Education are not the same, but are often considered together as Arts Education along with Theatre Education and Art Education. The history of Dance Education as a discipline is much shorter than Music Education, so Dance Education often looks to music education for leadership as well as scholarship. Remixing the Classroom has taken the lead in defining a long-standing issue within Music Education. This essay provides a brief background of Dance Education so as to consider the same Open Philosophy of Music Education, covered in this book, within the discipline of Dance Education.
MayDay Group. Brandon University School of Music, 270 18th Street, Brandon, Manitoba R7A 6A9, Canada. Tel: 204-571-8990; Fax: 204-727-7318; Web site: http://act.maydaygroup.org
Publication Type: Journal Articles; Opinion Papers
Education Level: Higher Education
Audience: N/A
Language: English
Sponsor: N/A
Authoring Institution: N/A